วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 4

    อาจารย์ได้สอน web storeใช้โดยเข้าไปที่   https://chrome.google.com/webstore
และได้ให้เพิ่ม application Mindmap แล้วสอนวิธีใช้

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3

       อาจารย์ให้ออกแบบ font ส่งประกวดภายในวันที่ 30 มิถุนายน และ ให้สืบค้นเกี่ยวกับงานกลุ่ม เพื่อมานำเสนอในอาทิตย์หน้า

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กระบวนการออกแบบ DESIGN PROCESS


กระบวนการออกแบบ DESIGN PROCESS


แปลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์

ข่าวที่ 1  
Cutex nails distinctive new package design


             เนื้อหา
               
              For years, Cutex has been a household name in nail care, but lookalike packaging by competitive branded and private-label products was beginning to confuse consumers and cause lost market share for Cutex. In a Cutex Brands survey, eight out of 10 respondents claimed they were buying Cutex products, even though sales share showed that was not possible.


             Shortly after the company changed hands in 2010—from Prestige Brands Holdings to the formation of Cutex Brands—the new management set out to restore the brand to premium status. First, it developed Advanced Revival, the first new nail-polish remover formula in 15 years by combining an acetone-based formula with natural botanical nourishing oils that solidify after application to produce stronger, healthier nails.


ที่มา : http://www.packworld.com/package-design/redesign/cutex-nails-distinctive-new-package-design



ข่าวที่ 2
Therapeutic baby care rebranded

                  
              เนื้อหา

                  Trust, efficacy, therapy, and quality: These are the prime attributes buyers of baby-care products seek when searching store shelves for therapeutic solutions to conditions such as cradle cap, teething soreness, and eczema. While Gentle Naturals Baby Therapeutics’ line of baby-care products was well positioned to address these needs, its packaging was lost in “riot of brands, colors, and symbols” found at retail point-of-sale, says Terri Goldstein, founder of The Goldstein Group, the strategic brand consultancy selected to rebrand Gentle Naturals.

Original packaging for the brand comprised bottles and cartons in a teal color, with labels depicting a cartoon-like illustration of a baby with teddy bear against pastel backgrounds of pink, powder blue, and purple.
“The baby care category is difficult for busy moms, who often shop with baby in tow, to navigate the large number of brand offerings and competing product claims,” Goldstein says. “We immediately recognized the need to create a distinctive brand identity that embodies the concept of ‘therapeutic baby care’ for traditional and contemporary mothers with general tummy, teething, and specialized skincare needs.”





ข่าวที่ 3
Kraft cooks up another quick-prep meal kit


                 เนื้อหา

Kraft Foods has devised another clever brand extension, designed to help busy families create home-cooked meals quickly, using popular Kraft food products. New Kraft Sizzling Salads in four varieties couples a cooking sauce and a salad dressing in PET bottles housed in an attractive, die-cut carton, for a dinner kit that stands out in the salad dressing aisle.

“Kraft Sizzling Salads Dinner Kits solve the ‘what’s for dinner’ dilemma with a line of perfectly paired cooking sauces and salad dressings that work together to create delicious and satisfying chicken and salad dishes in four easy steps in under 20 minutes,” says Kraft Dressings associate brand manager Anna Vishnevsky. For example, one variety, Southwest Chicken, provides 6 oz of Zesty Fajita cooking sauce and 6 oz of Barbecue Ranch salad dressing to create a six-serving meal.


วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 2

                           อาจารย์ได้ให้ทำแบบทดสอบ Pretest หรือ แบบทดสอบก่อนเรียน ใน web http://www.clarolinethai.info/  ครั้งที่ 1 เนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบ Packaging Design ภายในเวลา 30 นาที

และได้ให้ทำงานออกแบบ Font โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator ในการทำงาน






     หลังจากนั้น มีการเข้ากลุ่มทำงานพัฒนาสินค้า ภายใต้สินค้าที่เกี่ยวกับ Kanchanaburi OTOP ซึ่งมีการแบ่งหน้าที่การทำงานกัน

วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

โครงการ “แข่งขัน-ประชัน-นักออกแบบตัวพิมพ์ รุ่นใหม่” ครั้งที่ 2


ที่มาของโครงการ
ฟอนต์ภาษาไทยในระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ให้รองรับภาษาไทย จนทำให้เกิดการใช้งานในทุกๆ ส่วนของสังคมอย่างทั่วถึง
ในปัจจุบันซอฟต์แวร์ทั้งในระบบเปิด (Open Source Software) และระบบปิด (Commercial Software) ล้วนต้องใช้ฟอนต์ด้วยกันทั้งสิ้น ฟอนต์ภาษาไทยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายส่วนใหญ่ มักจะเป็นฟอนต์ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows และระบบปฏิบัติการ Mac OSX ซึ่งเป็นฟอนต์ที่มีลิขสิทธิ์ มีบางฟอนต์ที่ผู้พัฒนาอนุญาตให้นำไปใช้ได้โดยไม่คิดมูลค่า เช่น ฟอนต์ที่พัฒนาโดยองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ คือ ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ และฟอนต์ที่พัฒนาจากโครงการของกรมทรัพย์สินทางปัญญาร่วมกับสำนักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA)
ในส่วนของนักพัฒนาฟอนต์เองก็มีจำนวนจำกัด เนื่องจากไม่มีการเรียนการสอนโดยตรงในสถาบันการศึกษา นักพัฒนาฟอนต์เหล่านี้จึงต้องขวนขวายศึกษาหาความรู้เอาเองอย่างไร้การ สนับสนุนจากสังคมทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนผู้มีความรู้และประสบการณ์ อันจะนำไปสู่ปัญหาคุณภาพของฟอนต์ที่จะถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตด้วย
ชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย จึงคิดโครงการ “แข่งขัน-ประชัน-นักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่” นี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบฟอนต์รุ่นใหม่ๆ และเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาฟอนต์ ให้มีความเข้มแข็ง เกิดการพัฒนาฟอนต์ภาษาไทยอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ โดยจัดครั้งแรกขึ้นในปี 2554 ได้รับผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ จึงเห็นควรให้ดำเนินโครงการนี้ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
1) วัตถุประสงค์
- ส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ด้านอักขระภาษาไทย เพื่อมีแบบตัวพิมพ์ไทยให้เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม หลากหลาย อ่านได้ง่าย สวยงาม และเหมาะกับเนื้อหาของงาน
- ส่งเสริมให้เกิดนักออกแบบตัวพิมพ์หน้าใหม่ โดยการสร้างเวทีสำหรับการแข่งขันประชันผลงานขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
- ส่งเสริมให้เกิดการต่อยอดในเชิงพาณิชย์ สำหรับนักออกแบบตัวพิมพ์รุ่นใหม่
- เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย อันประกอบด้วย อาจารย์ในสถาบันการศึกษา นักศึกษา นักออกแบบ บริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ ผู้ใช้ เครือข่ายสื่อต่างๆ และทรัพยากรบุคคลอื่นๆ เพื่อพัฒนาให้เครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทยมีความเข้มแข็งและยั่งยืน
2) การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการฯ โดยผ่านเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ สถาบันการศึกษา และสื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบกราฟิก และการใช้ฟอนต์
- นักออกแบบฟอนต์ จะส่งผลงานในรูปแบบไฟล์ชนิด PDF โดยผ่านทางเว็บไซต์ที่ชมรมฯ เตรียมไว้สำหรับการรับผลงาน ซึ่งมีระบบคุ้มครองทรัพย์ทางปัญญาของผู้ออกแบบฟอนต์เป็นอย่างดี
- ลักษณะของผลงานที่ส่งเข้าแข่งขัน
• ผลงานออกแบบฟอนต์ ไม่จำกัดประเภท ได้แก่ ตัวเนื้อความ, ตัวพาดหัว, ตัวแฟนซี ฯลฯ
• ผลงานให้เรียงเป็นข้อความสั้น ตามที่คณะกรรมการกำหนด บนพื้นที่กระดาษขนาด A3
- คณะกรรมการคัดเลือก ทีึ่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ทำหน้าที่คัดเลือกผลงานทั้งหมดที่ส่งเข้าแข่งขัน โดยคัดเลือกผู้ที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 20 คน เพื่อรับโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ และผู้ผ่านเกณฑ์ จำนวน 30 คน เข้าร่วมการสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ เป็นเวลา 1 วัน
- เผยแพร่ผลงานและข้อมูลของผู้ออกแบบ ผ่านทางเว็บไซต์ของชมรมฯ และเครือข่ายพันธมิตร
3) กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าประกวด 
- นิสิต นักศึกษาในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนวิชา lettering design และ typography
- นักออกแบบกราฟิก และบุคคลทั่วไปที่สนใจการออกแบบตัวพิมพ์
4) แผนการดำเนินงาน
- 1 ก.พ. – 30 เม.ย. 2555
• ติดต่อประสานงานเครือข่ายฟอนต์ ได้แก่ fOnt.com, เครือข่ายใน facebook, ผู้เคยเข้าร่วมกิจกรรมประกวดแบบตัวพิมพ์ของชมรมฯ และของกรมทรัพย์สินทางปัญญา, บริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์, อาจารย์และสถาบันการศึกษาทีเปิดสอนวิชา lettering design และ typography, นิตยสาร iDesign, Computer Art ฯลฯ
• แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผลงาน
- 15 พ.ค. 2555 เริ่มประชาสัมพันธ์โครงการ
- 15 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2555 รับผลงานผ่านทางเว็บไซต์ www.tepclub.org
-  1-3 ก.ค. 2555 คัดเลือกผลงาน
- 5 ก.ค. 2555 แจ้งผลการคัดเลือกถึงผู้มีผลงานดีเด่นและผู้ผ่านเกณฑ์ (รวม 50 คน)
- 21 ก.ค. 2555 กิจกรรมสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์ (80-100 คน) ประกอบด้วย การสัมมนาวิชาการ กิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายฟอนต์ และการมอบโล่/ใบประกาศเกียรติคุณ
5) ตัวชี้วัด 
ด้านจำนวนผู้เข้าร่วมและจำนวนผลงาน
- มีผู้ส่งผลงานไม่น้อยกว่า 150 คน จำนวนผลงาน ไม่น้อยกว่า 200 ผลงาน
- มีผลงานที่สามารถพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ได้ไม่น้อยกว่า 20 ผลงาน
ด้านเครือข่ายฟอนต์ในประเทศไทย
- มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20 สถาบัน
- ได้รับความสนับสนุนจากบริษัทผู้พัฒนาแบบตัวพิมพ์
- ได้รับความสนับสนุนจากสื่อต่างๆ เช่น fOnt.com และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก
6) การสัมมนาเพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพ์
6.1) กิจกรรมสัมมนาวิชาการ
- ความรู้เรื่องฟอนต์สำหรับสือใหม่ (เว็บไซต์, eBook)
- ประสบการณ์ในการออกแบบตัวอักษรไทย และละติน (Latin)
- ประสบการณ์ในการใช้โปรแกรมสร้างฟอนต์
- การทำตลาดฟอนต์ (ในประเทศและต่างประเทศ)
- ความเห็นเรื่องฟอนต์จากฝั่งนักออกแบบกราฟิก (ผู้ใช้ฟอนต์)
6.2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย
-  จับคู่นักออกแบบและบริษัทผู้พัฒนาฟอนต์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์
-  แนะนำเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายสังคมออนไลน์ – fOnt.com และ facebook และนิตยสารด้านการออกแบบกราฟิก
-  สร้างการมีส่วนร่วมของ resource persons ในเครือข่ายฟอนต์ โดยการเป็นวิทยากร การเป็นพี่เลี้ยงให้นักออกแบบรุ่นใหม่
ดูรายละเอียดของโครงการได้ที่http://www.tepclub.org/?page_id=1674




โดย นายณัฐพล  จันฟอง
รหัสนักศึกษา 5311322555 กลุ่มเรียน 102
e-mail : natapol008@gmail.com
รายวิชา arti3314 การออกแบบกราฟฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์



แบบ font นี้มี concept มาจากการนำรูปทรงเลขาคณิตโดยส่วนใหญ่จะใช้รูป สามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม  โดยนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดเป็นพยัญชนะตัวอักษร โดยจะมีการเว้นช่องไฟทำให้เกิดมิติ เพื่อให้เกิดความสวยงาม

ที่มาของภาพ : นาย ณัฐพล  จันฟอง



การเรียนการสอน สัปดาห์ที่ 1


                      วันที่ 12 มิถุนายน 2555 เป็นสัปดาห์แรกของการเรียนวิชา การออกแบบกราฟฟิคบรรจุภัณฑ์ อาจารย์ได้บอกกฎระเบียบต่าง ๆ ภายในห้องเรียน และ ได้แนะนำเว็บบล๊อกของวิชานี้ คือ   arti3314.blogspot.com/   โดยอาจารย์ได้กำหนดให้สมัคร gmail เพื่อนำไปใช้ในการส่งงาน และ สร้าง blogger ของตัวเอง  http://www.blogger.com   มีการแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เพื่อฝึกในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยหัวข้อคือ ผลิตภัณฑ์ OTOP จาก http://Kanchanaburi.Blogspot.com

  งานที่อาจารย์สั่ง 1 งานออกแบบ font ส่งประกวดของ T-face ครั้งที่ 2 พร้อมแนบ Concept ของงาน ส่งภายใน 30 มิถุนายน
 
  งานที่อาจารย์สั่ง 2 งานแปลข่าวเกี่ยวกับ packaging design โดยที่เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษแล้วนำมาแปล รายงานหน้าชั้น